Skip to main content

Posts

Showing posts from June, 2019

หนี้สาธารณะ​

หนี้สาธารณะ     หนี้ของรัฐบาล   Government debt  คือ หนี้ ที่ถือโดย รัฐบาลกลาง ​ มัก มาจากการดำเนิน นโยบายของรัฐแบบขาดดุล  หรือก็คือรายได้ของรัฐน้อยกว่ารายจ่ายของรัฐ ทำให้ต้องมีการกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล     หนี้สาธารณะนั้นจะนำมาซึ่งความสูญเสีย เสถียรภาพทางการคลังและการเงินของประเทศ ซึ่งท้ายที่สุดจะทำให้ประเทศเกิดวิกฤติการณ์​ทางการเงิน     ทัศนคตินี้ไม่เป็นจริงเสมอไปหากรัฐบาลมี การบริหารจัดการสภาพคล่องของรัฐให้ดีมี วัตถุประสงค์ในการใช้เงินที่เหมาะสม และรักษาสัดส่วนหนี้ในประเทศและต่างประเทศให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม    เนื่องจากหนี้ในประเทศมีความยืดหยุ่นในการบริหารและความเสี่ยงต่ำกว่าหนี้ต่างประเทศ เพราะรัฐบาลที่มีอำนาจรัฐสามารถเจรจากับเจ้าหนี้ ซึ่งอยู่ใต้อำนาจรัฐได้ ทั้งยังสามารถหลีกเลี่ยงความผันผวนของค่าเงิน ตลอดจนสถานการณ์ของโลก     นอกจากนี้ความสามารถในการบริหารสภาพคล่องและหนี้สาธารณะ ยังเป็นปัจจัยสำคัญ ต่อการยก อันดับความน่าเชื่อถือ ของประเทศ ซึ่งจะช่วยให้ประเทศสามารถจัดหาแหล่งทุนจากต่างประเทศได้ในอัตรา ดอก...

ลดค่าเงินบาท

การเมืองเรื่องลดค่าเงินบาทสมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ผู้เรียบเรียง  อดิศร หมวกพิมาย การเทียบค่าเงินบาทกับเงินตราต่างประเทศจากระบบการค้าก่อนสนธิสัญญาบางริ่งเป็นการเทียบค่าตามน้ำหนักของเงินเหรียญที่ใช้แร่เงินเป็นตัวกำนด แต่เมื่อสยามเปิดประเทศสู่ระบบการค้าเสรีเพิ่มมากขึ้น กลุ่มพ่อค้าชาวตะวันตกเริ่มทำการค้ากับสยามากขึ้นโยเฉพาะอย่างยิ่งพ่อค้าชาวอังกฤษทำให้รัฐบาลสยามโดยพระคลังมหาสมบัติเทียบค่าเงินบาทกับเงินปอนด์ของอังกฤษ ในปี 2399 เงิน1 ปอนด์ มีค่าเท่ากับ 1.66 บาทของไทย สำหรับการซื้อขายสินค้าและแลกเปลี่ยนเงินตรา ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวยังมีปริมาณไม่มากนัก จนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีการระชุมประเทศมหาอำนาจในการก่อตั้งกองทุนการเงินระหว่างประเทศ และมีการกำหนดค่าเสมอภาคเพื่อแลกเปลี่ยนเงินตราเพื่อแก้ไขปัญหามาตราฐานการเงินและอัตราแลกเปลี่ยน ประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิกของกองทุนการเงินระหว่างประเทศเมื่อ(International Monetary Fund:IMF) ปี 2492 และได้ "ค่าเสมอภาค" ของเงินบาทเทียบเป็นน้ำหนักทองคำ แต่ฐานะทางการเงินสำรองระหว่างประเทศยังไม่มั่นคงพอ จึงยังไม่ได้กำหนดค่าเสมอภาคของเงินบา...